วันอาทิตย์ที่ 27 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2554

The Earth Is Opening In Southern Peru

The Earth Is Opening In Southern Peru

Sat Feb 26 2011 09:02

Puno: Large crack opens in the earth in southern Peru


livinginperu.com

peru
The mysterious crack measures 100 meters wide and three kilometers long. (Photo: El Comercio)

The sudden appearance early in the morning of an enormous crack, measuring 100 meters wide and three kilometers long, caused confusion among residents of the Huacullani district in the Chucuito province, department of Puno.

The exact cause of the crack in the earth still unknown. Peru’s geophysical institute ruled out the occurrence of an earthquake in the region, but what is clear is that the ground opened up and large blocks of earth can be observed scattered throughout the area.

The event, recorded Wednesday morning, caused the collapse of one house located in the rural community of Llorohoco. Four people managed to escape, but the youngest in the family, five-year-old Jean Carlos Vilcanqui Acero, is missing.

Geological engineers from the regional committee for civil defense have arrived in the area to investigate the phenomenon and determine its causes, said Javier Pampamallco, Puno’s civil defense chief.

Friday February 25, 2011 Time: 10:02

Incredible: The earth opens and lets large crack in Puno

peru.com

La tierra se abre y deja enorme grieta en Puno
January 1
Chucuito ( Peru.com ) .- The people of Chucuito, in Puno , expressed his surprise at the appearance of a huge crack of 100 meters wide and three miles long.
According to the newspaper 'El Comercio', it is unknown exactly what caused the Forado on earth, and even the Geophysical Institute of Peru ( IGP ) in the area denied that there has been an earthquake.
The incident, reported early Wednesday morning, caused the collapse of a house in the rural community of Llorohoco.
Four people managed to escape being killed, but the youngest in the family, Jean Carlos Vilcanqui (5) is missing.
The Civil Defense Institute (INDECI) of Puno said that geologists have come instead to investigate the phenomenon.

Here look at the photo of the huge rift that opened in Puno!
Photo courtesy of Civil Defense and the newspaper 'El Comercio'

วันอังคารที่ 22 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2554

แผ่นดินไหว 6.3 ริกเตอร์ไครสต์เชิร์ช นิวซีแลนด์ เสียหายหนัก เร่งอพยพปชช. (เกิดที่เดิมเมื่อ 6 เดือนก่อน)

เกิดที่เดิมห่างกันไม่ถึง 6 เดือน ... ตำราสะสมพลังงานของรอยแยก ที่นักวิชาการไทยยังเข้าใจผิดๆ ... ภัยจากธรรมชาติ คือสิ่งที่มนุษย์ต้องเผชิญต่อสู้ ... ก่อนมีเผ่าพันธ์มนุษย์ โลกผ่านการเปลี่ยนแปลงมานับครั้งไม่ถ้วน ทวีปแยกออกจากัน ลูกอุกาบาตขนาดมหึมาถล่มใส่ น้ำท่วมโลกกับเรือโนอา ... คนใต้ตื่นกลัวภัยสึนามิ ... แต่วันนี้ คนมาบตาพุด ยังเฉย กับ อุสาหภัย ที่เป็นภัยจากความมักง่ายประมาท ของภาคอุตสาหกรรม !!!

เกิดที่เดิมห่างกันไม่ถึง 6 เดือน ... ตำราสะสมพลังงานของรอยแยกที่นักวิชาการไทยยังเข้าใจผิดๆ ... เรื่องแผ่นดินไหว / จนมีนักวิชาการที่เป็นวิศวกร ระดับคณบดี อยู่ใน กรรมการ วิศวกรรมสถานแห่งประเทศไทย ให้ข้อเสนอแนะว่า โรงงาน ไม่จำเป็นต้องตอกเสาเข็ม ถ้าอยู่นอกพื้นที่เสี่ยงแผ่นดินไหว จึงเป็นที่มาว่า ทำไม ปตท.จึงสร้างโรงงานจำนวนมากในมาบตาพุด โดยไม่ตอกเสาเข็ม เพราะอายุใช้งานเพียง 25-30 ปี แต่แผ่นดินไหว เกิดห่างกัน 500 ปี ในที่เดียวกัน ... !!! อ่านหนังสือเก่าแล้วเอาความรู้ความคิดเก่าๆ มาขีดเขี่ย จนสร้างความเสี่ยงมหาศาล ... แก่ผู้คนประชาชน รอบโรงงานเสี่ยง และเสี่ยงกับประเทศชาติ


เมื่อเวลา12.51น.ตามเวลาท้องถิ่น (06.51 น. ตามเวลาในไทย) เกิดแผ่นดินไหวขนาด 6.3 ริคเตอร์ในไครสต์เชิร์ช เมืองใหญ่อันดับสองของนิวซีแลนด์ ซึ่งเคยเกิดแผ่นดินไหวใหญ่เมื่อเดือนกันยายนปีที่แล้ว สร้างความเสียหายเป็นจำนวนมาก

ภาพทางโทรทัศน์แสดงความตื่นตระหนกของผู้ที่กำลังทำงานอยู่ตามอาคารต่าง ๆ หลังจากเกิดแผ่นดินไหว อาคารบางส่วนที่กำลังพังลงมา ทางเท้าและถนนแยกออกเป็นรอยกว้าง โดยตำรวจกล่าวว่า พบความเสียหายเป็นวงกว้างในหลายพื้นที่ของเมือง

ท่าอากาศยานเมืองไครสต์เชิร์ชถูกปิด และตำรวจกำลังอพยพประชาชนออกจากศูนย์กลางเมือง มีรายงานว่า ด้านหน้าของอาคารที่ได้รับความเสียหายจากแผ่นดินไหวครั้งที่แล้วได้พังถล่มลงมาบนถนน มีผู้เห็นว่ามีคนถูกทับติดอยู่ภายในด้วย แต่ยังไม่มีรายงานที่ยืนยันการบาดเจ็บหรือเสียชีวิต

ศูนย์ธรณีวิทยาสหรัฐ แถลงว่า เหตุแผ่นดินไหวดังกล่าวสามารถวัดแรงสั่นสะเทือนได้ 6.3 ริคเตอร์ ใกล้โดยมีศูนย์กลางอยู่ห่างจากเมืองไครสต์เชิร์ช นิวซีแลนด์เพียง 5 กิโลเมตร และลึกลงไปใต้ดินเพียง 4 กิโลเมตรเท่านั้น

เมืองไครสต์เชิร์ชเคยประสบกับเหตุแผ่นดินไหวขนาด 7.1 ริกเตอร์และอัฟเตอร์ช็อคหลายครั้งเมื่อวันที่ 4 ก.ย.ปีที่ผ่านมา ซึ่งก่อให้เกิดความเสียหายเป็นวงว้างเช่นกัน เป็นมูลค่า 4 พันล้านดอลลาร์นิวซีแลนด์ (ประมาณ 94,000 ล้านบาท)แต่ไม่พบรายงานผู้เสียชีวิต

นิวซีแลนด์ตั้งอยู่บน”วงแหวนแห่งไฟ” ซึ่งเป็นเขตที่มีความเสี่ยงในการเกิดเหตุแผ่นดินไหวสูง โดยทอดยาวตลอดแนวชายฝั่งมหาสมุทรแปซิฟิค นับตั้งแต่ประเทศชิลี, รัฐอลาสก้าของสหรัฐฯ, ญี่ปุ่น และเขตแปซิฟิคใต้ มีรายงานเหตุแผ่นดินไหวถึงประมาณ 14,000 ครั้งต่อปี

สำนักข่าวต่างประเทศรายงานว่า นายจอห์น คีย์ นายกรัฐมนตรีของนิวซีแลนด์ เปิดเผยว่า ขณะนี้พบผู้เสียชีวิตแล้ว 65 ราย จากเหตุแผ่นดินไหวรุนแรงในเมืองไครสต์เชิร์ชและคาดว่าจำนวนผู้เสียชีวิตจะเพิ่มสูงอีก ขณะที่ยังมีผู้เคราะห์ร้ายอีกนับสิบคน ติดอยู่ใต้ซากปรักหักพังของอาคาร นอกจากนี้ แรงสั่นสะเทือนของแผ่นดินไหวยังก่อให้เกิดความเสียหายเป็นบริเวณกว้าง กระแสไฟฟ้าถูกตัดขาดและเครือข่ายโทรศัพท์ไม่สามารถใช้การได้

ด้านผู้เชี่ยวชาญกล่าวว่า แผ่นดินไหวครั้งนี้สร้างความเสียหายมากกว่าเหตุแผ่นดินไหวในเมืองไครสต์เชิร์ชเมื่อเดือนกันยายนปีที่แล้ว แม้ว่ามีรุนแรงน้อยกว่า เนื่องจากอยู่ใกล้ศูนย์กลางแผ่นดินไหวมากกว่า



Read more: แผ่นดินไหว 6.3 ริกเตอร์ไครสต์เชิร์ช นิวซีแลนด์ เสียหายหนัก เร่งอพยพปชช. | บล็อกความรู้ | WiseKnow | Knowledge Blog