วันศุกร์ที่ 14 ตุลาคม พ.ศ. 2554

บริหารจัดการน้ำ ผิดพลาดจนน้ำทะลักท่วม - ชาวเขื่อน

ผมได้อ่าน บทความนี้ จึงหาข้อมูลมาบ่นบอกความจริงว่า อะไรทำไม นักการเมืองไทยชอบ ทะลึ่งรู้ดี ไปปิดเปิดสวิทช์ เรื่องน้ำ ปีที่แล้ว ก้อน้ำท่วมหนัก เพราะรัฐบาลอภิสิทธิ์ ไปแย่งถือกุญแจ เพราะกลัวภัยแล้งปี 54 ที่นักวิชาการไทยบอกว่า จะแล้งสุดๆ นั่น ปีนี้ก้อเอาอีก

ตามอ่าน และผมก้อยังเชื่อแบบนั้น ....

ขอประณาม รัฐบาลชุดนี้ที่ขาดประสบการณ์ในการบริหาร ลองอ่านข้อความข้อล่างดู
ไม่รู้จะระบายที่ไหน อัดอั้นใจมานาน

.....รู้มั้ยว่าทำไมน้ำถึงท่วมเป็นวงกว้างขนาดนี้.......
สาเหตู.....การจัดการบริหารน้ำผิดพลาด
ใครผิดพลาด.....
ทำไมถึงเป็นนายคนนี้ เพราะตอนน้ำท่วมช่วงแรกๆ นายคนนี้เป็นคนสั่งให้เขื่อนทุกเขื่อนกักน้ำให้ไว้ให้มากที่สุด แทนที่จะปล่อยให้ระบายน้ำออกจากเขื่อนตามหลักการที่เคยทำมา เพื่อที่จะทำให้ระดับน้ำที่ท่วมในช่วงนั้นลดลง
โดยไม่สนใจคำคัดค้านจาก ผอ.เขื่อนต่างๆ โดยเฉพาะเขื่อภูมิพล ที่พยายามโต้เถี่ยงคัดค้านมาโดยตลอด จนนายคนนี้ไม่สามารถโต้เถี่ยงจึงกล่าวออกมาว่า นี่คือคำสั่ง ผมสั่ง...คุณต้องทำ
แล้วเป็นไง....น้ำเหนือที่ยังไม่หมดช่วงมรสุมตะวันออกลงมาที่เขื่อนต่างๆเป็นจำนวนมาก จะค่อยๆระบายก็ไม่ได้ ต้องกัก...นี่เป็นคำสั่ง จนส่งผลดังปัจุบันที่เป็นอยู่.....
แล้วเราจะประนามใคร.........
ช่วยกระจายเรื่องหน่อยเถอะครับ ชาวไทยจะได้ตาสว่าง

*** ชาวเขื่อน ***










รายงานสรุปสถานการณ์น้ำในฤดูฝน ปี  2553 วันที่ 16 สิงหาคม 2553

1

สภาพภูมิอากาศ จากกรมอุตุฯ

                  มีฝนฟ้าคะนองเกือบทั่วไป ร้อยละ 70 ของพื้นที่ และมีฝนตกหนักบางแห่ง บริเวณจังหวัดเชียงราย เชียงใหม่ ลำปาง พะเยา น่าน อุตรดิตถ์ กำแพงเพชร และเพชรบูรณ์ อุณหภูมิต่ำสุด 23 องศา สูงสุด 33 องศา ลมตะวันตกเฉียงใต้ ความเร็ว 10-30 กม./ชม.

2.

สภาพน้ำฝน และ น้ำท่าในลุ่มน้ำน่านและลุ่มน้ำยม

               จังหวัดอุตรดิตถ์  อ่างเก็บน้ำคลองตรอน 2.5 ม.ม. อ.ลับแล เล็กน้อย อ.ตรอน เล็กน้อย อ.ท่าปลา เล็กน้อย                  อ.บ้านโคก เล็กน้อย อ.ทองแสนขัน 3.5 ม.ม.
จังหวัดพิษณุโลก  อ.บางระกำ 1.0 ม.ม. อ.พรหมพิราม 0.5 ม.ม. อ.ชาติตระการ 25.0 ม.ม.
จังหวัดพิจิตร อ.วังจันทร์ 3.3 ม.ม. อ.วังสำโรง 5.9 ม.ม. โครงการฯ ท่าบัว 31.0 ม.ม.
จังหวัดนครสวรรค์  อ.ท่าตะโก 3.9 ม.ม. อ.บรรพตพิสัย 1.0 ม.ม. อ.ชุมแสง 27.4 ม.ม. อ.หนองบัว 2.7 ม.ม.                อ.แม่วงศ์ 5.0 ม.ม. อ.แม่เปิน 35.4 ม.ม.
                           น้ำท่าลุ่มน้ำน่าน และน้ำยม  คลิ๊กที่นี่

3

สภาพน้ำในเขื่อน/อ่างเก็บน้ำ

ปริมาณน้ำในเขื่อน/อ่างเก็บน้ำ ณ วันที่   (15 สิงหาคม 2553 )
เขื่อน / อ่าง
ความจุ
(ล้าน ลบ.ม.)
ปริมาณน้ำกักเก็บในอ่าง
ปริมาณน้ำใช้การได้ (ล้าน ลบ.ม.)
ปริมาณน้ำไหล (ล้านลบ.ม.)
ล้าน ลบ.ม.
คิดเป็น %
เต็มความจุ
ปัจจุบัน
คิดเป็น %
ไหลลงอ่างฯ
ระบายออก
เขื่อนภูมิพล 
13,462
4,278
31.78
9,662
478
4.95
48.46
3.01
เขื่อนสิริกิติ์ 
9,510
4,386
46.12
6,660
1,536
23.06
62.94
5.49
รวม 2 อ่าง
22,972
8,664
37.72
16,322
2,014
12.34
111.40
8.50
 เขื่อนฯแควน้อย
769
243.35
31.64
733
207.35
28.29
5.89
0.43
อ่างฯคลองตรอน
59
24.541
41.59
53
18.541
34.98
0.315
0.000
    ปริมาณน้ำในเขื่อน/อ่างเก็บน้ำ ปีที่แล้ว  (15 สิงหาคม 2552)
ความจุ
(ล้าน ลบ.ม.)
ปริมาณน้ำกักเก็บในอ่าง
ปริมาณน้ำใช้การได้ (ล้าน ลบ.ม.)
ปริมาณน้ำไหล (ล้านลบ.ม.)
ล้าน ลบ.ม.
คิดเป็น %
เต็มความจุ
ปัจจุบัน
คิดเป็น %
ไหลลงอ่างฯ
ระบายออก
เขื่อนภูมิพล
13,462
6,164
45.79
9,662
2,364
24.47
12.95
20.61
เขื่อนสิริกิติ์
9,510
5,151
54.16
6,660
2,301
34.55
39.27
19.57
รวม 2 อ่าง
22,972
11,315
49.26
16,322
4,665
28.58
52.22
40.18
อ่างฯคลองตรอน
59
22.340
37.86
53
16.340
30.83
0.000
0.000

4

สภาพทั่วไปและการให้ความช่วยเหลือ

             4.1จังหวัดอุตรดิตถ์ -
                4.2 จังหวัดพิษณุโลก  -
          4.3 จังหวัดพิจิตร   -
                 4.4   จังหวัดนครสวรรค์     -
                                    โครงการชลประทานจังหวัด โครงการส่งน้ำและบำรุงรักษา ได้ให้ความช่วยเหลือเครื่องสูบน้ำและรถบรรทุกน้ำ     เข้าช่วยเหลือเพื่อการเพาะปลูก และการอุปโภค-บริโภค ทั้งในเขตและนอกเขตชลประทาน ดังนี้
จังหวัด
การให้ความช่วยเหลือด้วยเครื่องสูบน้ำ
การให้ความช่วยเหลือด้วยรถบรรทุกน้ำ
จำนวนทั้งหมด
(เครื่อง)
จำนวนที่ให้ความช่วยเหลือ
(เครื่อง)
พื้นที่
(ไร่)
จำนวนทั้งหมด
(คัน)
จำนวน
เที่ยว/คัน
ปริมาณน้ำ
(ลิตร)
ช่วยเหลือ
ช่วงวันที่
ปริมาณน้ำสะสมตั้งแต่
2 พ.ย.52
(ลิตร/เที่ยว)
สถานที่
ช่วยเหลือ
ในเขตโครงการ
20
-
-
-
-
-
-
-
ส่วนเครื่องกล
-
-
-
-
-
-
-
-
อุตรดิตถ์
7
4
1,311
-
-
-
-
192,000/32
โครงการฯ อุตรดิตถ์
พิษณุโลก
17
6
  600
2
-
-
-
      -
พิจิตร
26
-
-
2
-
-
-
180,000/30
    โครงการฯ ท่าบัว 
นครสวรรค์
28
5
-
1
-
-
-
396,000/66
ก่อสร้าง 2
98
7
1,911
5
-
-
-
768,000/128
          ที่มา : รายงานการช่วยเหลือด้วยเครื่องสูบน้ำของศูนย์ปฏิบัติการเครื่องจักรกลที่ 2   ณ วันที่ 16 .ค. 2553
                         รายงานการช่วยเหลือด้วยรถบรรทุกน้ำของโครงการฯ ณ วันที่ 16 .ค. 2553

5.

การใช้น้ำของโครงการชลประทาน

5.1 สรุปแผนและผลการใช้น้ำฤดูฝน ปี 2553   โครงการพัฒนาเกษตรชลประทานพิษณุโลก
โครงการ
แผนการใช้น้ำตลอดฤดูกาล
จาก 26 ก.ค.53        ถึง  21 พ.ย.53
การใช้น้ำถึงปัจจุบัน (ล้าน ลบ.ม.)
แผน     
จาก 26 ก.ค.53
ถึง  21 พ.ย.53
ใช้จริง
จาก 26 ก.ค.53
ถึง 21 พ.ย.53
คิดเป็น %
 เทียบกับแผน
 คลองส่งน้ำสายใหญ่ ฝั่งซ้าย PL.0, PL.1
50.80
50.80
 
 
 - โครงการฯ เขื่อนนเรศวร
50.80
50.80
 
คลองส่งน้ำสายใหญ่ ฝั่งขวา (PR.)
355.02
355.02
 
 
 -  โครงการฯ พลายชุมพล
130.64
130.64
 
 -   โครงการฯ ดงเศรษฐี
121.56
121.56
 
 
102.82
102.82
 
 
405.82
405.82
 
 
 5.2  สรุปแผนและผลการเพาะปลูกพืชฤดูฝน ปี 2553  โครงการพัฒนาเกษตรชลประทานพิษณุโลก
 โครงการ
พื้นที่เพาะปลูก (ไร่)
พื้นที่
ชลประทาน
(ไร่)
  ปลูกจริง
สะสม
26 ก.ค.53
ถึง 21 พ.ย.53
คิดเป็น % เทียบกับพื้นที่
1 โครงการฯ เขื่อนนเรศวร
91,000
 
 
2 โครงการฯ พลายชุมพล
211,476
 
 
3 โครงการฯ ดงเศรษฐี
186,000
 
 
4 โครงการฯ ท่าบัว
168,540
 
 
รวม
657,016
 
 

6.

พื้นที่เพาะปลูกข้าว ปี 2553

จำแนกตามอายุข้าว ถึงปัจจุบัน  (ข้อมูล ณ 16 .ค.53)
6.1 การเพาะปลูกข้าว  2553    
6.1.1 โครงการพัฒนาเกษตรชลประทานพิษณุโลก 
โครงการ
พื้นที่เพาะปลูกตามอายุข้าว (ไร่)
เตรียมแปลง
ต่ำกว่า 1 เดือน
1 - 2 เดือน
2 - 3 เดือน
3 - 4 เดือน
รวม
เก็บเกี่ยว
เสียหาย
รวมทั้งสิ้น
เขื่อนนเรศวร
-
21,900
-
950
-
  22,850
     4,100
-
   26,950
พลายชุมพล
-
23,263
4,345
2,481
-
30,089
19,319
-
49,408
ดงเศรษฐี
-
10,125
296
2,725
1,422
14,568
21,928
-
36,496
ท่าบัว
-
5,489
-
-
-
5,489
96,101
-
101,590
น้ำริด
-
37,726
-
-
-
37,726
-
-
37,726
รวม
-
98,503
4,641
6,156
1,422
110,722
141,448
-
252,170
หมายเหตุ  พื้นที่นอกเขตชลประทาน  พลายชุมพล    10  ไร่ , น้ำริด 9,030 ไร่
6.1.2 โครงการพัฒนาเกษตรชลประทานพิษณุโลก  (ตารางที่ 2 )  หมายเหตุ  ข้อมูล ณ วันที่ 16 สิงหาคม 2553
โครงการ
พื้นที่เพาะปลูกตามอายุข้าว (ไร่)
เตรียมแปลง
ต่ำกว่า 1 เดือน
1 - 2 เดือน
2 - 3 เดือน
3 - 4 เดือน
รวม
เก็บเกี่ยว
เสียหาย
รวมทั้งสิ้น
เขื่อนนเรศวร
5,700
21,900
-
-
950
  28,550
     -
-
-
พลายชุมพล
-
8,645
-
-
-
8,645
-
-
-
ดงเศรษฐี
-
-
-
-
1,422
1,422
-
-
-
ท่าบัว
17,065
6,660
-
-
-
23,725
-
-
-
รวม
22,765
37,205
-
-
2,372
62,342
-
-
 
6.1.3  การเพาะปลูกพืชฤดูฝนปี 2553  ในเขตสถานีสูบน้ำด้วยไฟฟ้า 
โครงการ
พื้นที่เพาะปลูกตามอายุข้าว (ไร่)
พื้นที่ชลประทาน
เตรียมแปลง
ต่ำกว่า 1 เดือน
1 - 2 เดือน
2 - 3 เดือน
3 - 4 เดือน
รวม
เก็บเกี่ยว
เสียหาย
รวมทั้งสิ้น
อุตรดิตถ์
185,610
-
-
66,000
50,840
-
  116,840
-
-
  116,840
พิษณุโลก
67,060
2,200
27,300
-
-
-
29,500
-
-
29,500
พิจิตร
72,500
-
-
-
-
-
-
-
-
-
นครสวรรค์
99,134
12,530
60,959
25,645
-
-
99,134
-
-
99,134
รวม
424,304
14,730
88,259
91,625
50,840
-
245,474
 
 
245,474
6.1.4 คลองชักน้ำ คลองเมม,วังขอน
คลองชักน้ำ
พื้นที่เพาะปลูกตามอายุข้าว (ไร่)
เตรียมแปลง
ต่ำกว่า 1 เดือน
1 - 2 เดือน
2 - 3 เดือน
3 - 4 เดือน
รวม
เก็บเกี่ยว
รวมทั้งสิ้น
2,500
78,000
-
-
-
80,500
-
80,500
รวม
2,500
78,000
-
-
-
80,500
-
80,500
6.1.5           การเพาะปลูกพืชฤดูฝน ปี 2553  โครงการส่งน้ำและบำรุงรักษาเขื่อนแควน้อย
พื้นที่ชลประทานฝั่งขวา 2 ฝั่ง
พื้นที่เพาะปลูกตามอายุข้าว (ไร่)
เตรียมแปลง
ต่ำกว่า 1 เดือน
1 - 2 เดือน
2 - 3 เดือน
3 - 4 เดือน
เก็บเกี่ยว
รวมทั้งสิ้น
700
7,950
-
330
-
-
8,980
รวม
700
7,950
-
330
-
-
8,980
6.1.5   พื้นที่เพาะปลูกพืช ปี 2553  ในเขตโครงการฯ ขนาดกลาง ที่มีแหล่งน้ำ
ที่
โครงการ
ชลประทาน
ชป.กลาง ทั้งหมด
จำนวน
(โครงการ)
การเพาะปลูกพืชฤดูแล้ง
แหล่งน้ำ/
โครงการ
พ.ท. เพาะปลูก (ไร่)
พื้นที่เก็บเกี่ยว
(ไร่)
เป้าหมาย
ปลูกแล้ว
อุตรดิตถ์
3
36,846
15,843
 
น้ำริด
1,500
1,500
น้ำปาด
18,028
430
 
คลองตรอน
รวม
 
56,374
17,773
 
 
2
พิษณุโลก
5
12,000
12,000
 
วังน้ำใส
53,000
50,770
 
วัดตายม
9,000
9,000
 
ฝายบางบ้า
5,000
5,000
 
แคววังทอง
6,900
6,900
 
ฝายน้ำเฟื้อ
รวม
 
85,900
83,670
 
 
พิจิตร
15
18,500
2,770
 
ปตร.คลองคัน
7,000
1,800
 
ปตร.คลองบุษบงศ์
22,000
3,500
 
ปตร.วังงิ้ว
13,000
1,950
 
ทรบ.คลองท่าหลวง
12,000
2,160
 
ทรบ.คลองร่องกอกใหญ่
9,000
1,620
 
ทรบ.คลองน้ำโจน
8,000
1,440
 
ทรบ.คลองสินเธาว์
9,000
1,620
 
ทรบ.หอไกร
9,500
1,900
 
ทรบ.คลองห้วยเกตุ
9,000
1,980
 
ทรบ.คลองบุษบงศ์เหนือ
20,300
4,060
 
ทรบ.คลองบ้านบุ่ง
4,000
1,500
 
ทรบ.คลองบุษบงศ์ใต้
2,000
1,200
 
ฝายวังเรือน
59,000
9,500
 
ฝายยางพิจิตร
22,000
3,000
 
ฝายพญาวัง
-
900
 
บางไผ่
รวม
224,300
-
 
 
4.
นครสวรรค์
11
6,000
-
 
คลองขนมจีน
20,000
-
 
คลองห้วยรั้ว
8,000
-
 
วังสวัสดี
2,000
-
 
คลองตาพาด
8,000
-
 
ฝายห้วยหอม
100,000
--
 
คลองกระถิน
5,000
-
 
คลองปลากด
10,000
-
 
คลองระนงค์
5,000
-
 
คลองจระเข้เผือก
3,000
-
 
คลองเก้าเลี้ยว
2,500
--
 
คลองตั้วเกา
 
รวม
 
169,500
-
 
 
รวมทั้งสิ้น
34
536,074
142,343
 
         (ข้อมูล 16 ส.ค.53) 






บันทึกเหตุการณ์ปริมาณน้ำไหลผ่านเขื่อนเจ้าพระยามากว่าค่ายจิรประวัติ (กันยายน 2553)
แผนผังลุ่มน้ำเจ้าพระยาตอนบนและเจ้าพระยาตอนกลาง
ลุ่มน้ำเจ้าพระยาตอนบนประกอบด้วยแม่น้ำสายหลัก ทั้งหมด 4 สาย คือ แม่น้ำปิง วัง ยม น่าน ครอบคลุมพื้นที่ตั้งแต่ใต้เขื่อนภูมิพล กิ่วลม สิริกิติ์ตลอดแนวลงทางทิศใต้จนถึงบริเวณบึงบอระเพ็ด จังหวัดนครสวรรค์ การคำนวณปริมาณน้ำบริเวณลุ่มน้ำเจ้าพระยาตอนบนใช้ข้อมูลน้ำระบายจากเขื่อน ภูมิพล สิริกิติ์ กิ่วลม แควน้อย และสถานีวัดน้ำท่า Y.1C สะพานบ้านน้ำโค้ง
ส่วนลุ่มน้ำเจ้าพระยาตอนกลางครอบคลุมตั้งแต่บริเวณบึงบอระเพ็ดจนถึงเขื่อน เจ้าพระยาจังหวัดชัยนาท ระหว่างทางมีการรับน้ำจากแม่น้ำสะแกกรังจังหวัดอุทัยธานี และผันน้ำออกสู่เส้นทางหลักสี่เส้นทางคือ คลองชัยนาท-ป่าสัก คลองมะขามเฒ่าอู่ทอง แม่น้ำท่าจีน และแม่น้ำน้อย การคำนวณปริมาณน้ำใช้ข้อมูลที่สถานีวัดน้ำท่า C.2 ค่ายจิรประวัติ และสถานี C.13 ท้ายเขื่อนเจ้าพระยา

โดยส่วนใหญ่ปริมาณน้ำไหลผ่านที่ท้ายเขื่อนเจ้าพระยาจะน้อยกว่าที่ค่ายจิร ประวัติอันเนื่องมาจากมีการระบายน้ำออกทั้งทางด้านตะวันตกและตะวันออกของแม่ น้ำ และเกิดการใช้น้ำจากภาคการเกษตรในบริเวณดังกล่าวค่อนข้างมาก ยกเว้นน้ำที่ไหลมาจากทางภาคเหนือและแม่น้ำสะแกกรังมีปริมาณมากประกอบกับมีฝน ตกมากบริเวณจังหวัดนครสวรรค์และชัยนาท จึงส่งผลทำให้ปริมาณน้ำไหลผ่านที่เขื่อนเจ้าพระยาสูงกว่าที่ค่ายจิรประวัติ

เปรียบเทียบข้อมูลปริมาณน้ำไหลผ่านรายวันที่สถานีค่ายจิรประวัติ(C.2) และสถานีท้ายเขื่อนเจ้าพระยา(C.13) ตั้งแต่ปี 1994 ถึง ปี 2010

จากกราฟแสดงข้อมูลปริมาณน้ำไหลผ่านตั้งแต่ปี 1994 จนถึงปัจจุบัน พบว่ามีเหตุการณ์ปริมาณน้ำไหลผ่านที่ท้ายเขื่อนเจ้าพระยามากกว่าค่ายจิร ประวัติที่เห็นได้อย่างชัดเจน
ได้แก่ ช่วงเดือนตุลาคม 1995 , พฤษภาคม 1999 , พฤศจิกายน 1999 , ตุลาคม 2000 , ตุลาคม 2002 , ตุลาคม 2007
, กันยายน 2010

ปริมาณน้ำไหลผ่านรายวันที่สถานีเมืองอุทัยธานี (Ct.2A)
จากกราฟแสดงปริมาณน้ำไหลผ่านที่สถานีหน้าศาลากลาง เมืองอุทัยธานี แม่น้ำสะแกกรัง พบว่าช่วงเดือนสิงหาคมจนถึงกันยายน 2553 ปริมาณน้ำไหลผ่านค่อนข้างสูงส่งผลให้ปริมาณน้ำไหลเข้ามาสมทบในแม่น้ำเจ้า พระยาเพิ่มมากยิ่งขึ้น

ปริมาณน้ำไหลผ่านรายวันที่สถานีค่ายจิรประวัติ(C.2) และสถานีท้ายเขื่อนเจ้าพระยา(C.13) ช่วงเดือน ก.ค.- ก.ย. 53
จากกราฟแสดงปริมาณน้ำไหลผ่านช่วงเดือนกรกฎาคม - กันยายน 2553 พบว่าปริมาณน้ำเริ่มเพิ่มสูงขึ้นตั้งแต่เดือนสิงหาคม โดยปริมาณน้ำลุ่มน้ำเจ้าพระยาตอนบน(ภูมิพล+กิ่วลม+Y1C+แควน้อย) มีปริมาณน้ำสูงสุด 96.52 ล้านลูกบาศก์เมตร ในวันที่ 31 สิงหาคม ด้านลุ่มน้ำเจ้าพระยาตอนล่างปริมาณน้ำสูงสุดที่สถานีค่ายจิรประวัติอยู่ที่ 166 ล้านลูกบาศก์เมตร (1,920 ลูกบาศก์เมตรต่อวินาที) ในวันที่ 21 กันยายน ส่วนที่สถานีท้ายเขื่อนเจ้าพระยามีปริมาณน้ำสูงสุด อยู่ที่ 195 ล้านลูกบาศก์เมตร (2,253 ลูกบาศก์เมตรต่อวินาที) ในวันที่ 22 กันยายน 2553 โดยปริมาณน้ำที่สถานีท้ายเขื่อนเจ้าพระยาเริ่มมากกว่าที่สถานีค่ายจิร ประวัติ ตั้งแต่วันที่ 14 กันยายน จนถึงวันที่ 27 กันยายน และอัตราน้ำไหลผ่านที่เขื่อนเจ้าพระยาเริ่มสูงเกิน 2000 ลูกบาศก์เมตรต่อวินาที ตั้งแต่วันที่ 19 กันยายน จนถึง 25 กันยายน


ปริมาณน้ำไหลผ่าน รายเดือน
จากกราฟแสดงข้อมูลปริมาณน้ำไหลผ่าน สะสมรายเดือนพบว่าเดือนสิงหาคมปริมาณน้ำในลุ่มเจ้าพระยาตอนบนเพิ่มขึ้นจาก เดือนกรกฎาคมเกือบเท่าตัว และในเดือนกันยายนปริมาณน้ำลดลงเล็กน้อย ส่วนที่สถานีค่ายจิรประวัติปริมาณน้ำช่วงเดือนสิงหาคมเพิ่มสูงขึ้นจากเดือน กรกฎาคมค่อนข้างมากและในเดือนกันยายนระดับน้ำยังคงเพิ่มสูงขึ้นอีกมาก เช่นเดียวกันกับสถานีท้ายเขื่อนเจ้าพระยาที่ปริมาณน้ำเพิ่มขึ้นอย่างต่อ เนื่อง ซึ่งอาจเป็นผลมาจากปริมาณน้ำที่ไหลเข้ามาสมทบเพิ่มเติมและจากปริมาณฝนที่ตก ในพื้นที่ แต่เมื่อดูภาพรวมทั้งเดือนจะพบว่าปริมาณน้ำที่เขื่อนเจ้าพระยาน้อยกว่าที่ ค่ายจิรประวัติเล็กน้อย เนื่องมาจากช่วงที่ปริมาณน้ำที่เขื่อนเจ้าพระยามากกว่าที่ค่ายจิรประวัติ เกิดขึ้นเพียงในช่วงวันที่ 14-27 กันยายนเท่านั้น


การเปรียบเทียบปริมาณน้ำไหล ผ่าน(รายวัน)สถานีค่ายจิรประวัติและสถานีท้ายเขื่อนเจ้าพระยาช่วงเดือน กรกฎาคมถึงเดือนกันยายน ของปี 2549 และ 2553
จากกราฟเปรียบเทียบข้อมูลปริมาณน้ำของปี 2553 และปี 2549 ซึ่งเป็นปีที่เกิดน้ำท่วมหนัก พบว่าปริมาณน้ำของปี 2549 มีค่าสูงสุดในช่วงเดือนตุลาคม และมีค่าสูงกว่าช่วงเดือนกันยายนของปี 2553 ค่อนข้างมาก โดยปริมาณน้ำที่ค่ายจิรประวัติยังคงสูงกว่าที่ท้ายเขื่อนเจ้าพระยา แต่ในปี 2553 ปริมาณน้ำโดยภาพรวมต่ำกว่าปี 2549 แต่ปริมาณน้ำที่ท้ายเขื่อนเจ้าพระยาสูงกว่าที่ค่ายจิรประวัติ ในช่วงเดือนกันยายน


แผนภาพฝนสะสมรายเดือน

ค่าสถิติฝนสะสมเฉลี่ยเดือนกรกฎาคม ปี 2493-2540

กรกฎาคม 2549

กรกฎาคม 2553

ค่าสถิติฝนสะสมเฉลี่ยเดือนสิงหาคม ปี 2493-2540

สิงหาคม 2549

สิงหาคม 2553

ค่าสถิติฝนสะสมเฉลี่ยเดือนกันยายน ปี 2493-2540

กันยายน 2549

กันยายน 2553

ช่วงเดือนกรกฎาคม ปี 2553 ปริมาณฝนในพื้นที่ภาคเหนือมีค่าน้อยกว่าปี 2549 และน้อยกว่าค่าสถิติ แต่หากพิจารณาพื้นที่ภาคกลางตอนบนเฉพาะจังหวัดชัยนาท นครสวรรค์ และ อุทัยธานี พบว่าปริมาณฝนปี2553 มากกว่าปี 2549 และมากกว่าค่าสถิติเล็กน้อย
ช่วงเดือนสิงหาคม ปี 2553 ปริมาณฝนในพื้นที่ภาคเหนือ และภาคกลางตอนบนมีค่ามากกว่าปี 2549 และมากกว่าค่าสถิติ
ช่วงเดือนกันยายน ปี 2553 ปริมาณฝนในพื้นที่ภาคเหนือต่ำกว่าปี 2549 แต่มากกว่าค่าสถิติ แต่หากพิจารณาในพื้นที่ภาคกลางตอนบนบริเวณจังหวัดนครสวรรค์ ชัยนาท และอุทัยธานี พบว่า ปี 2553 มีฝนตกค่อนข้างมากในพื้นที่จังหวัดชัยนาท แต่น้อยกว่าปี 2549 และมากกว่าค่าสถิติ แต่ในพื้นที่จังหวัดนครสวรรค์และอุทัยธานี ในปี 2553 ปริมาณฝนต่ำกว่าปี 2549 และต่ำกว่าค่าสถิติ

ไม่มีความคิดเห็น:

แสดงความคิดเห็น